นี้คงเป็นโพสต์สุดท้ายของปี พ.ศ. ๒๕๔๘ 2005 นี้ ต่อไปคงจะขี้นปีใหม่
ไม่รู้ว่าปีหน้าจะมีเวลามาเขียนบ่อยแค่ไหน อาจจะน้อยกว่าเดิมก็ได้่
ผมขออาราธนาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่แต่ละท่านเคารพนับถือ
โปรดประทานพรให้ปีใหม่นี้ จงเป็นปีที่ทุกท่านประสบความสำเร็จในสิ่งที่ท่านประสงค์
ขอให้ท่านมีความจำเริญในธรรม เปี่ยมในคุณธรรมยิ่งๆขึ้นไป
สวัสดีปีใหม่ พ.ศ. ๒๕๔๙ ครับ
ปกิณกะ ไทย I posted about interesting items information I found, write my views on books I read, education, science and technology, Buddhism and meditation, economic and business, music, and movies, country and rural development. Articles are in English or Thai.
Saturday, December 31, 2005
Buddhism: philosophy or religion ?
I read some books recently and here is the conclusion. If some people just discuss it in academic or intellectual sense, it is just a philosophy for them:although I should add that it is a hugh subject (dozens of tomes). But for many who practice it in their lives, every breath, it is a religion.
Good summary, isn't it.
Good summary, isn't it.
The World's largest jade Buddha statue
Today is New Year's eve so I decided to make some merit. I went to Wat Dhammamongkol, in Soi Sukhumvit 101, where the World's largest jade Buddha image is placed. Behind the statue, there was also a jade Guan-im, a chinese female-form of an incarnated bodhisatva. Both statues were sculpted over a decade ago from a 32 ton dark green jade block from Canada. The Buddha statue was crafted by an Italian artist. The King has given the name "Phra Mongkoldhamsrithai" to the statue, which had been meditated upon by the venerable Phra Sangkharaj and other meditation-master monks. I had read about it recently and decided to go to pay my respect. Seen in the picture, the white threads linked like web from the statue were just tied in by monks in preparation for a meditation ceremony to be held a week after this post.
Before I left, I donated some cash to join an effort to build a Buddhist Ubosot (or Uposot ?, the main congregation hall).
Oh, I forgot to mention that this Wat also has the biggest (perhaps tallest) traditional style Buddhist pagoda (Jetiya or Jedi). To me, it looks like Indian style structure except for the attached Vihara and the white pagoda at the top of the 11 storey-high building.
Thursday, December 29, 2005
ผ่านไปอีกปี เวลาผ่่านไปเรื่อยๆ
พุทธศาสนสุภาษิตบทหนึ่ง จำได้แต่คำแปล กล่าวไว้ว่า
วันคืนเคลื่อนคล้อย อายุเหลือน้อยลงทุกที
อีกบทกล่าวไว้แปลได้ว่า
เวลาผ่านไปอย่าให้ผ่านไปเปล่า จะน้อยหรือมาก ก็ให้ได้อะไรบ้าง
ผมรู้สึกว่าในปีที่ผ่านมาได้อะไรเล็กน้อยแต่เขียนออกมาเป็น KPI (Key Performance Index) ลำบาก
สงสัยจะ planning มากไป คือเขาบอกว่า แปลนแล้วนิ่ง
แย่จัง
ไปอ่านบันทึกส่วนตัวเมื่อปีที่แล้วกับตอนนี้ ยังไงก็ยังงั้น ไม่ค่อยมีอะไรใหม่
ทักษะเพิ่มไม่มากนักในความเห็นส่วนตัวยังไม่น่าพอใจ
งานก็ยังไม่ก้าวไปเร็วนัก
เริ่มใหม่ปีนี่ ต้องรีเซ็ท biological clock ให้มี frequency สูงขี้นหน่อยถ้าจะดี
ผลที่ตามมาอันหนึ่งคืออาจจะเขียนบล๊อกน้อยลง
วันคืนเคลื่อนคล้อย อายุเหลือน้อยลงทุกที
อีกบทกล่าวไว้แปลได้ว่า
เวลาผ่านไปอย่าให้ผ่านไปเปล่า จะน้อยหรือมาก ก็ให้ได้อะไรบ้าง
ผมรู้สึกว่าในปีที่ผ่านมาได้อะไรเล็กน้อยแต่เขียนออกมาเป็น KPI (Key Performance Index) ลำบาก
สงสัยจะ planning มากไป คือเขาบอกว่า แปลนแล้วนิ่ง
แย่จัง
ไปอ่านบันทึกส่วนตัวเมื่อปีที่แล้วกับตอนนี้ ยังไงก็ยังงั้น ไม่ค่อยมีอะไรใหม่
ทักษะเพิ่มไม่มากนักในความเห็นส่วนตัวยังไม่น่าพอใจ
งานก็ยังไม่ก้าวไปเร็วนัก
เริ่มใหม่ปีนี่ ต้องรีเซ็ท biological clock ให้มี frequency สูงขี้นหน่อยถ้าจะดี
ผลที่ตามมาอันหนึ่งคืออาจจะเขียนบล๊อกน้อยลง
ปีนี้นานกว่าปกติ
ข่าวที่เพิ่งเจอบอกว่า สิ้นปี พ.ศ. ๒๕๔๘ หรือ ค.ศ. 2005 นี้ นักวิทยาศาสตร์ตกลงเพิ่มเวลาให้อีก ๑ วินาที ทำให้ปีนี่ยาวกว่าปกติเล็กน้อย ตามเวลาที่กรีนิช แต่จะเป็นเวลา ๗ โมงเช้าวันที่ ๑ ม.ค. พ.ศ. ๒๕๔๙ แล้วในเมืองไทย ดูเหมือนโลกจะมีแนวโน้มที่หมุนรอบตัวช้าลงเล็กน้อย
Wednesday, December 28, 2005
ใช้แม็คแล้วดีอย่างไร คุ้มเงินไหม
How good is Mac and OS-X ? Is it worth the money spent ?
จะตอบคำปุจฉาข้างต้น ต้องอธิบายว่าก่อนผมจะเปลี่ยนมาใช้แม็ค โอเอสเท็น นั้น ชีวิตผมเคยเป็นอย่่างไรบ้าง
ก่อนหน้านั้น ผมใช้ระบบวินโดวส์ผมต้องอัพเดทข้อมูลนิยามของไวรัสทุกวัน อัพเดทข้อมูลของพวกสปายแวร์ทุกวัน และต้องเสียเวลาสแกนเครื่องราว ๔๐ นาทีทุกวัน
(ก่อนหน้านั้นเคยใช้แม๋็คนานมาแล้ว ก่อนจำต้องหันมาใช้วินโดวส์ตามออฟฟิส)
เครื่องระบบวินโดวส์เก่าของผมนั้นแฮงก์บ่อยมาก และวันละหลายๆครั้ง
นอกจากนั้นแต่ละวัน ก่อนจะใช้เครื่องแต่ละทีก็เสียเวลาบู้ทเครื่องหลายนาที และเสียเวลาชัทดาวน์เมื่อเลิกใช้
ส่วนเวลาทำงานนั้น ผมจำต้องเปิดหลายๆวินโดวส์ทำให้เต็มจอไปหมด การทำงานข้ามไปมาระหว่างหน้าต่างลำบาก แต่ละวินโดวก็เต็มจอไปหมด วินโดวอึ่นทับไปทับมากันวุ่นวายต้องไล่ปิดวินโดวจนหาเจอแล้วค่อยไล่เปิดมาใหม่
และคนที่มีแฟ้มเอกสารแยะๆอย่างผม วันหนึ่งสร้างไฟล์ใหม่ขี้นมาหลายๆสิบไฟล์ การจะไปหาแฟ้มเก่าที่ต้องการโดยใช้เสอร์ชในโอเอสนั้นยากในคอมพิวเตอร์ตัวเก่า และคำสั่งค้นหาในวินโดวส์นั้นมันก็ไม่เคยจำเอาเลยว่าแฟ้มที่เคยค้นไปแล้วเมื่อวานนี้มันอยู่ที่ไหน
และในวินโดวส์หากเปิดเอกสารขนาดใหญ่ โปรแกรมบางตัวไม่รับ หรือโหลดช้ามากๆจนเครื่องหยุดทำงาน และถ้าใครมีไฟล์ขนาดใหญ่สัก 500 MB ต่อแฟ้มอย่างผมละก็ คงจะเข้าใจ
และการดีลีืืทแฟ้มทิ้งจำนวนมากในคราวเดียวนั้น ผมมักทำเป็นประจำ ผมมักลบแฟ้มเก่าที่สำเนาข้อมูลไว้แล้วทิ้งทีหนึ่งหลายๆพันไฟล์ รวมขนาดก็หลาย GB ทำให้ระบบวินโดวส์นั้นแฮงก์
ระบบวินโดวส์ไม่สามารถรันยูนิกส์โปรแกรมไปในเครื่องได้ และในหน้าต่างคอมมานด์นั้น คำสั่งของ ดอส ก็ไม่ดีเท่ากับยูนิกส์ ต้องบอกว่าทำอะไรไม่ได้ แต่แม็ครันโปรแกรมยูนิกส์ได้สบาย โดยเฉพาะโปรแกรม 64 bit
ซื้อแม็คแล้วปัญหาข้างต้นหมดไปทั้งหมด และเป็นเดือนแล้ว ยังไม่ได้ปิดเครื่องเลย (เว้นหลังอัพเดทโอเอสใหม่) เวลาจะย้ายเครื่องไปไหนๆก็แค่ sleep และมันจะตรวจเจอเน็ตเวอร์คใหม่ให้โดยอัตโนมัติ
แม็ดได้ชื่อว่าเป็นระบบที่ user interface ดีที่สุดในโลก โดยเฉพาะรุ่น Tiger (OS-X 10.4) ที่มีคุณลักษณะดีๆแยะมาก และซอฟต์แวร์ฟรีก็มีให้ดาวน์โหลดมาใช้อย่างพอเพียงโดยไม่ต้องซื้อ เคยอ่านเจอเมื่อไม่กี่เดือนก่อนว่า ขนาดเจ้าของ Linux คือ Linux Torvalds ก็ยังใช้ Mac ในการทำงานพัฒนาระบบลินุกส์ เพราะมันใช้ดีจริงๆน่ะสิ
อ้อ วันก่อนก็เห็นรูปใน หนังสือพิมพ์ Bangkok Post ลงภาพประธานบริษัทโตโยต้าแถลงข่าว เขาก็ยังใช้แม๋็ค รุ่นเดียวกันกะผมเลย (PowerBook)
และก็ที่สำคัญแม็คก็ยังใช้กับบรอดแบนด์ ของทรูก็ได้ ไม่มีปัญหาแต่อย่างใด
ในปีที่ผ่านมานี้ มีคนเปลี่ยนจากวินโดวส์มาใช้แม็คแล้วราว ๑ ล้านคน
ราคาแม็คถ้ากระจายไปสักสามสี่ปีก็ไม่แพงอย่างที่คนเข้าใจ และราคาก็รวมค่าซอฟต์แวร์ที่จำเป็นไว้แล้ว และโอเอสกะซอฟต์แวร์จากแอปเปิ้ลยังอัพเดทให้เป็นประจำฟรีผ่านเน็ตเวอร์คทุกๆสองเดือนอีกด้วย
แม็คก็เหมือนรถยนต์ ถ้าคุณพอมีสตางค์ซื้อรถเก๋ง ก็เลิกขับรถอีแต๋นดีกว่า ใช่ไหมล่ะ
มีข่าวล่าสุดเพิ่งเจอรายงานบอกว่า จากสถิติการใช้เว็บหลักๆของนานาชาติ ตอนนี้เฉลี่ยเป็นเครื่องแม็ค ราว 4.11 % คงหมายความถึงอเมริกาเป็นหลักละมัง เมืองไทยน่าจะน้อยมากๆ อย่างไรก็ดี ก็น่าจะมีแนวโน้มสูงขึ้น
จะตอบคำปุจฉาข้างต้น ต้องอธิบายว่าก่อนผมจะเปลี่ยนมาใช้แม็ค โอเอสเท็น นั้น ชีวิตผมเคยเป็นอย่่างไรบ้าง
ก่อนหน้านั้น ผมใช้ระบบวินโดวส์ผมต้องอัพเดทข้อมูลนิยามของไวรัสทุกวัน อัพเดทข้อมูลของพวกสปายแวร์ทุกวัน และต้องเสียเวลาสแกนเครื่องราว ๔๐ นาทีทุกวัน
(ก่อนหน้านั้นเคยใช้แม๋็คนานมาแล้ว ก่อนจำต้องหันมาใช้วินโดวส์ตามออฟฟิส)
เครื่องระบบวินโดวส์เก่าของผมนั้นแฮงก์บ่อยมาก และวันละหลายๆครั้ง
นอกจากนั้นแต่ละวัน ก่อนจะใช้เครื่องแต่ละทีก็เสียเวลาบู้ทเครื่องหลายนาที และเสียเวลาชัทดาวน์เมื่อเลิกใช้
ส่วนเวลาทำงานนั้น ผมจำต้องเปิดหลายๆวินโดวส์ทำให้เต็มจอไปหมด การทำงานข้ามไปมาระหว่างหน้าต่างลำบาก แต่ละวินโดวก็เต็มจอไปหมด วินโดวอึ่นทับไปทับมากันวุ่นวายต้องไล่ปิดวินโดวจนหาเจอแล้วค่อยไล่เปิดมาใหม่
และคนที่มีแฟ้มเอกสารแยะๆอย่างผม วันหนึ่งสร้างไฟล์ใหม่ขี้นมาหลายๆสิบไฟล์ การจะไปหาแฟ้มเก่าที่ต้องการโดยใช้เสอร์ชในโอเอสนั้นยากในคอมพิวเตอร์ตัวเก่า และคำสั่งค้นหาในวินโดวส์นั้นมันก็ไม่เคยจำเอาเลยว่าแฟ้มที่เคยค้นไปแล้วเมื่อวานนี้มันอยู่ที่ไหน
และในวินโดวส์หากเปิดเอกสารขนาดใหญ่ โปรแกรมบางตัวไม่รับ หรือโหลดช้ามากๆจนเครื่องหยุดทำงาน และถ้าใครมีไฟล์ขนาดใหญ่สัก 500 MB ต่อแฟ้มอย่างผมละก็ คงจะเข้าใจ
และการดีลีืืทแฟ้มทิ้งจำนวนมากในคราวเดียวนั้น ผมมักทำเป็นประจำ ผมมักลบแฟ้มเก่าที่สำเนาข้อมูลไว้แล้วทิ้งทีหนึ่งหลายๆพันไฟล์ รวมขนาดก็หลาย GB ทำให้ระบบวินโดวส์นั้นแฮงก์
ระบบวินโดวส์ไม่สามารถรันยูนิกส์โปรแกรมไปในเครื่องได้ และในหน้าต่างคอมมานด์นั้น คำสั่งของ ดอส ก็ไม่ดีเท่ากับยูนิกส์ ต้องบอกว่าทำอะไรไม่ได้ แต่แม็ครันโปรแกรมยูนิกส์ได้สบาย โดยเฉพาะโปรแกรม 64 bit
ซื้อแม็คแล้วปัญหาข้างต้นหมดไปทั้งหมด และเป็นเดือนแล้ว ยังไม่ได้ปิดเครื่องเลย (เว้นหลังอัพเดทโอเอสใหม่) เวลาจะย้ายเครื่องไปไหนๆก็แค่ sleep และมันจะตรวจเจอเน็ตเวอร์คใหม่ให้โดยอัตโนมัติ
แม็ดได้ชื่อว่าเป็นระบบที่ user interface ดีที่สุดในโลก โดยเฉพาะรุ่น Tiger (OS-X 10.4) ที่มีคุณลักษณะดีๆแยะมาก และซอฟต์แวร์ฟรีก็มีให้ดาวน์โหลดมาใช้อย่างพอเพียงโดยไม่ต้องซื้อ เคยอ่านเจอเมื่อไม่กี่เดือนก่อนว่า ขนาดเจ้าของ Linux คือ Linux Torvalds ก็ยังใช้ Mac ในการทำงานพัฒนาระบบลินุกส์ เพราะมันใช้ดีจริงๆน่ะสิ
อ้อ วันก่อนก็เห็นรูปใน หนังสือพิมพ์ Bangkok Post ลงภาพประธานบริษัทโตโยต้าแถลงข่าว เขาก็ยังใช้แม๋็ค รุ่นเดียวกันกะผมเลย (PowerBook)
และก็ที่สำคัญแม็คก็ยังใช้กับบรอดแบนด์ ของทรูก็ได้ ไม่มีปัญหาแต่อย่างใด
ในปีที่ผ่านมานี้ มีคนเปลี่ยนจากวินโดวส์มาใช้แม็คแล้วราว ๑ ล้านคน
ราคาแม็คถ้ากระจายไปสักสามสี่ปีก็ไม่แพงอย่างที่คนเข้าใจ และราคาก็รวมค่าซอฟต์แวร์ที่จำเป็นไว้แล้ว และโอเอสกะซอฟต์แวร์จากแอปเปิ้ลยังอัพเดทให้เป็นประจำฟรีผ่านเน็ตเวอร์คทุกๆสองเดือนอีกด้วย
แม็คก็เหมือนรถยนต์ ถ้าคุณพอมีสตางค์ซื้อรถเก๋ง ก็เลิกขับรถอีแต๋นดีกว่า ใช่ไหมล่ะ
มีข่าวล่าสุดเพิ่งเจอรายงานบอกว่า จากสถิติการใช้เว็บหลักๆของนานาชาติ ตอนนี้เฉลี่ยเป็นเครื่องแม็ค ราว 4.11 % คงหมายความถึงอเมริกาเป็นหลักละมัง เมืองไทยน่าจะน้อยมากๆ อย่างไรก็ดี ก็น่าจะมีแนวโน้มสูงขึ้น
Thai lunar calendar for B.E. 2549 / 2006
วันพระ ขึ้น แรม ใน พ.ศ. ๒๕๔๙
Buddhists' Dhamma Savana Days (Dhamma observation days)
According to Thai lunar calendar for B.E. 2549 / 2006
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๒ - ๗ มกราคม
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๒ - ๑๔ มกราคม
แรม ๘ ค่ำ เดือน ๒ - ๒๒ มกราคม
แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๒ - ๒๙ มกราคม ตรุษจีน
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๓ - ๖ กุมภาพันธ์
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๓ - ๑๓ กุมภาพันธ์
แรม ๘ ค่ำ เดือน ๓ - ๒๑ กุมภาพันธ์
แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๓ - ๒๗ กุมภาพันธ์
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๔ - ๗ มีนาคม
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๔ - ๑๔ มีนาคม
แรม ๘ ค่ำ เดือน ๔ - ๒๒ มีนาคม
แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๔ - ๒๙ มีนาคม
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๕ - ๖ เมษายน
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๕ - ๑๓ เมษายน
แรม ๘ ค่ำ เดือน ๕ - ๒๑ เมษายน
แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๕ - ๒๗ เมษายน
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๖ - ๕ พฤษภาคม
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ - ๑๒ พฤษภาคม วิสาขบูชา
แรม ๘ ค่ำ เดือน ๖ - ๒๐ พฤษภาคม
แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ - ๒๗ พฤษภาคม
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๗ - ๔ มิถุนายน
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๗ - ๑๑ มิถุนายน
แรม ๘ ค่ำ เดือน ๗ - ๑๙ มิถุนายน
แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๗ - ๒๕ มิถุนายน
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๘ - ๓ กรกฎาคม
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ - ๑๐ กรกฎาคม อาสาฬหบูชา
แรม ๑ ต่ำ เดือน ๘ - ๑๑ กรกฎาคม เข้าพรรษา
แรม ๘ ค่ำ เดือน ๘ - ๑๘ กรกฎาคม
แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ - ๒๕ กรกฎาคม
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๙ - ๒ สิงหาคม
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๙ - ๙ สิงหาคม
แรม ๘ ค่ำ เดือน ๙ - ๑๗ สิงหาคม
แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๙ - ๒๓ สิงหาคม
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๐ - ๓๑ สิงหาคม
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ๗ กันยายน
แรม ๘ ค่ำ เดือน ๑๐ ๑๕ กันยายน
แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ๒๒ กันยายน
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๑ ๓๐ กันยายน
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ - ๗ ตุลาคม ออกพรรษา
แรม ๘ ค่ำ เดือน ๑๑ - ๑๕ ตุลาคม
แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๑ - ๒๑ ตุลาคม
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๒ - ๒๙ ตุลาคม
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ - ๕ พฤษจิกายน ลอยกระทง
แรม ๘ ค่ำ เดือน ๑๒ - ๑๓ พฤษจิกายน
แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ - ๒๐ พฤษจิกายน
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑ - ๒๘ พฤษจิกายน
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑ - ๕ ธันวาคม
(แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑ - ๖ ธันวาคม วันปีใหม่ไทยเดิม ไม่ใช่วันพระ)
แรม ๘ ค่ำ เดือน ๑ - ๑๓ ธันวาคม
แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๑ - ๑๙ ธันวาคม
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๒ - ๒๗ ธันวาคม
Buddhists' Dhamma Savana Days (Dhamma observation days)
According to Thai lunar calendar for B.E. 2549 / 2006
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๒ - ๗ มกราคม
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๒ - ๑๔ มกราคม
แรม ๘ ค่ำ เดือน ๒ - ๒๒ มกราคม
แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๒ - ๒๙ มกราคม ตรุษจีน
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๓ - ๖ กุมภาพันธ์
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๓ - ๑๓ กุมภาพันธ์
แรม ๘ ค่ำ เดือน ๓ - ๒๑ กุมภาพันธ์
แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๓ - ๒๗ กุมภาพันธ์
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๔ - ๗ มีนาคม
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๔ - ๑๔ มีนาคม
แรม ๘ ค่ำ เดือน ๔ - ๒๒ มีนาคม
แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๔ - ๒๙ มีนาคม
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๕ - ๖ เมษายน
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๕ - ๑๓ เมษายน
แรม ๘ ค่ำ เดือน ๕ - ๒๑ เมษายน
แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๕ - ๒๗ เมษายน
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๖ - ๕ พฤษภาคม
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ - ๑๒ พฤษภาคม วิสาขบูชา
แรม ๘ ค่ำ เดือน ๖ - ๒๐ พฤษภาคม
แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ - ๒๗ พฤษภาคม
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๗ - ๔ มิถุนายน
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๗ - ๑๑ มิถุนายน
แรม ๘ ค่ำ เดือน ๗ - ๑๙ มิถุนายน
แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๗ - ๒๕ มิถุนายน
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๘ - ๓ กรกฎาคม
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ - ๑๐ กรกฎาคม อาสาฬหบูชา
แรม ๑ ต่ำ เดือน ๘ - ๑๑ กรกฎาคม เข้าพรรษา
แรม ๘ ค่ำ เดือน ๘ - ๑๘ กรกฎาคม
แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ - ๒๕ กรกฎาคม
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๙ - ๒ สิงหาคม
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๙ - ๙ สิงหาคม
แรม ๘ ค่ำ เดือน ๙ - ๑๗ สิงหาคม
แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๙ - ๒๓ สิงหาคม
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๐ - ๓๑ สิงหาคม
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ๗ กันยายน
แรม ๘ ค่ำ เดือน ๑๐ ๑๕ กันยายน
แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๐ ๒๒ กันยายน
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๑ ๓๐ กันยายน
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ - ๗ ตุลาคม ออกพรรษา
แรม ๘ ค่ำ เดือน ๑๑ - ๑๕ ตุลาคม
แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๑๑ - ๒๑ ตุลาคม
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑๒ - ๒๙ ตุลาคม
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ - ๕ พฤษจิกายน ลอยกระทง
แรม ๘ ค่ำ เดือน ๑๒ - ๑๓ พฤษจิกายน
แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒ - ๒๐ พฤษจิกายน
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๑ - ๒๘ พฤษจิกายน
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑ - ๕ ธันวาคม
(แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑ - ๖ ธันวาคม วันปีใหม่ไทยเดิม ไม่ใช่วันพระ)
แรม ๘ ค่ำ เดือน ๑ - ๑๓ ธันวาคม
แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๑ - ๑๙ ธันวาคม
ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๒ - ๒๗ ธันวาคม
Tuesday, December 27, 2005
หนังสืออ่านสนุก Buddhist books (ต่อ)
เพิ่งไปได้หนังสือมาอีกหลายเล่ม ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมาจาก ร้านนายอินทร์ ท่าพระจันทร์
ที่น่าสนใจคือ หนังสือแปลจากภาษาฝรั่งเศสชื่อ ภิกษุกับนักปรัชญา ยังอ่านยังไม่จบ แต่น่าสนใจมาก เป็นการสนทนาธรรมหรือปรัชญากันสองคน
ดูแค่ประวัติคนเขียนก็น่าสนใจแล้ว เพราะเป็นฝรั่งพ่อลูกกัน คนพ่อเคยเป็นศาสตราจารย์ทางปรัชญา คนลูกจบ Ph.D. Molecular Biology จาก Pasteur Institute ที่ปารีส เป็นลูกศิษย์ของ Jacob นักวิทยาศาสตร์ชื่อก้องโลกได้รางวัลโนเบล แต่ไปสนใจปฏิบัตธรรม ตอนนี่้บวชเป็นพระธิเบตมาได้ราว ๓๐ ปีแล้ว อ่่านอย่างคนสนใจธรรมะจะได้ความเข้าใจดีมาก
นอกจากนี้วันต่อมาผมก็ยังไปได้จากซีเอ็ดเป็น หนังสือของ พุทธทาสภิกขุ สองเล่ม ที่สำนักพิมพ์สุขภาพใจเอามาพิมพ์ใหม่ ปกแข็ง ถ่ายย่อจากฉบับเดิม คือ อิทัปปัจจัยยตา กับ ปฏิจจสมุปปบาท กำลังสลับอ่านกับอีกสองสามเล่มที่ยังไม่ได้เอ่ยชื่อ
เสาร์ที่ผ่านมา (ตอนที่ ๒)
ก่อนกลับ เดินตัดสนามหลวงแวะไปพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหอศิลป์ด้วย แม้ว่าภาพเขียนที่มีให้ชมที่นี่จะไม่ค่อยแยะเท่าของฝรั่ง แต่ก็ดีที่อย่างน้อยเมืองไทยก็มี หอศิลป์ ไปยืนจ้องผลงานห่างจากตาไม่กี่นิ้ว ทำให้รู้สึกได้ใกล้ชิดศิลปินแห่งชาติหลายๆคน งานที่แสดงของบางคนก็เป็นของญาติผู้ใหญ่ที่เสียไปแล้ว เช่น คุณลุงพิมาณ มูลประมุข และยังดูเหมือนอาจารย์จำรัส เกียรติก้อง ก็เป็นญาติห่างๆด้วย จำได้ว่าคุณพ่อไปงานศพท่านตอนผมเด็กๆ ยังมีหนังสืองานศพอยู่เลย
ขากลับเดินแวะไปเที่ยวที่ป้อมพระอาทิตย์ ตอนเด็กๆนั่งรถผ่านบ่อยๆ ไม่เคยแวะสักที จนลูกผมยังเคยมานั่งเขียนรูปที่นี่กับครูหลายปีก่อน เขามาที่นี่ก่อนผมอีก
จากริมแม่น่ำเจ้าพระยาตรงสวนที่ป้อมฯ สามารถมองเห็นสะพานพระราม ๘ ได้ดี
เสาร์ที่ผ่านมา (ตอนที่ ๑)
เสาร์ที่ผ่านมาเอาครุยปริญญาเอกไปเปลี่ยนกำมะหยี่ที่ร้านที่เคยตัดเมื่อราว ๑๗ ปีก่อน เพราะสีกำมะหยี่เปลี่ยนไปหมดแล้ว ร้านนี้ชื่อร้านอลังการ ใกล้วัดมหาธาตุ เกือบถึงท่าพระจันทร์ เปลี่ยนกำมะหยี่ได้ในราคา 2500 บาท ก่อนหน้านี้ รุ่นน้องผมเขาไปตัดครุยใหม่ทั้งชุดราคาชุดละ 12,000 บาท เขายืมฮูู้ดผมไปเป็นแบบเพราะจบยูเดียวกัน ผมเลยได้โอกาสสั่งเปลี่ยนกำมะหยี่เสียเลย ไม่งั้นไม่มีโอกาสไปแถวนั้น เผื่อปุบปับจะได้ใช้ ไม่รู้เมื่อไร แต่ต้องรอคิวยาวหน่อย อีกสองเดือนได้
บ่น
รถติดหนับบนทางยกระดับได้เป็นชั่วโมงๆ เพราะความประมาทของคนเพียงคนสองคน คนอีกหลายพันเดือดร้อน ค่าน้ำมันเสียเพิ่มรวมเป็นล้านบาท ไม่นับค่าเสียเวลา
จากข่าว นสพ. เมื่อวันก่อน ผมเห็นว่าคนที่ไต่ขึ้นมาเป็นผู้ใหญ่ จนเป็นผู้บริหาร ถ้าพื้นฐานเขานั้นจิตใจไร้คุณธรรมและจริยธรรมแล้วก็ย่อมเกิดความเสียหาย ทั้งส่วนรวมและตัวผู้นั้นเอง ต้องปลงสังเวช
จากข่าว นสพ. เมื่อวันก่อน ผมเห็นว่าคนที่ไต่ขึ้นมาเป็นผู้ใหญ่ จนเป็นผู้บริหาร ถ้าพื้นฐานเขานั้นจิตใจไร้คุณธรรมและจริยธรรมแล้วก็ย่อมเกิดความเสียหาย ทั้งส่วนรวมและตัวผู้นั้นเอง ต้องปลงสังเวช
Sunday, December 25, 2005
Wednesday, December 21, 2005
China-Thailand FTA
From the news, as Thai Deputy Commerce Minister said the Sino-Thai Free Trade Agreement would not put Thai trade balance into deficit.
I do not believe it. It did, and affected both the country's trade balance at the macro level and small farmers and businessmen at the micro-economy level.
For example, Thai orchards' owners are going broke with influx of surplus Chinese fruits. How can you survive if you were forced to sell Rambutan for 5 Baht (about US 12 Cents) a kilogram, for example.
There are known barriers inside China, e.g. the various localities, whatever they are called.
Thailand should do the same, setting up local regulations to support local farmers, for example. Look at a living eukaryotic cell, there are several membrane bound organelles which serve as various intracellular compartments. Those were aimed to increase local concentration of metabolites and some biochemicals in needed in some areas. Five hundred million years of evolution can not be wrong. Cells would die if there is no intracellular compartmentation. A country should be likewise in term of local products.
I do not believe it. It did, and affected both the country's trade balance at the macro level and small farmers and businessmen at the micro-economy level.
For example, Thai orchards' owners are going broke with influx of surplus Chinese fruits. How can you survive if you were forced to sell Rambutan for 5 Baht (about US 12 Cents) a kilogram, for example.
There are known barriers inside China, e.g. the various localities, whatever they are called.
Thailand should do the same, setting up local regulations to support local farmers, for example. Look at a living eukaryotic cell, there are several membrane bound organelles which serve as various intracellular compartments. Those were aimed to increase local concentration of metabolites and some biochemicals in needed in some areas. Five hundred million years of evolution can not be wrong. Cells would die if there is no intracellular compartmentation. A country should be likewise in term of local products.
ฐานข้อมูลบทความวิทยาศาสตร์
เริ่มต้น มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙ นี้ นักวิจัยจาก NSTDA จะสามารถเข้าใช้
Science Direct ซึ่งเป็นฐานข้อมูลของบริษัท Elsevier ผ่านเว็บ และเข้าดูเปเปอร์ฉบับเต็มได้กว่า 2100 journals
Science Direct ซึ่งเป็นฐานข้อมูลของบริษัท Elsevier ผ่านเว็บ และเข้าดูเปเปอร์ฉบับเต็มได้กว่า 2100 journals
Sunday, December 18, 2005
Narai Palace in Lop Buri
I have wanted to post some pictures I took at the Narai Palace in Lop Buri 2 weeks ago. Here they are. The first one was an inner gate leading toward the innermost part of the palace. The other is the audience windown inside the "Dusitsawan Thanya Mahaprasat" Throne Hall where King Narai the Great came out to accept French envoy. We went there after 5 p.m. so the museum there was closed and another former royal residence building (of King Rama IV) was closed.
Lop Buri was the city I had wanted to visit. It 's a city my dad and my mom used to live before they got married. I spent only one day by driving there and did not have sufficient time to look around. Next time i will do some planning and will target other places as well.
Wednesday, December 14, 2005
Tuesday, December 13, 2005
ขนมเปียกปูนแบบสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนหายไปไหนหมด
ไปซื้อขนมเปียกปูนมารับประทาน จากเมืองโบราณ รสชาดพอทานได้ แต่ก็เหมือนกับที่อื่นๆที่พอมีขายอยู่บ้างอยู่อย่างหนึ่งก็คือ เขาตัดเป็นรูปทรงลูกเต๋าแทนที่จะเป็นสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนแบบที่เราเคยรู้จัก ผมว่าอีกหน่อยเด็กรุ่นใหม่จะไม่เข้าใจว่าสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนน่ะมันเป็นไฉน คงรู้จักแต่ diamond หรือข้าวหลามตัด (หรืออย่างหลังก็ไม่รู้อีกเหมือนกัน)
Post from home ADSL
I just signed up to ADSL service from True Corporation few days ago, using my existing phone line. I got a modem for 1 Baht in exchange for 1 year sign up, and to pay 590 Baht per month (for 256K/128K bps rate). After 4 days, my connection was up. It works fine for Macintosh just like my friend said so. Here the a post from home via my Powerbook at 5 a.m. Speed is fast.
Gosh. A lot of works needs to be done.
Gosh. A lot of works needs to be done.
Friday, December 09, 2005
อนุสนธิจาก ลีกวนยู ให้สัมภาษณ์ วารสารไทม์
ประทับใจตอนหนี่งที่เขาบอกว่า ในสิงคโปร์ ประชากรมีเพียง ๔ ล้านคน คิดว่ามีผู้มีึความรู้และความสามารถสูงเพียง ๒ พันคน ที่มีศักยภาพจะเป็นผู้บริหารของประเทศได้ ประวัติการทำงานของคนกลุ่มนี่สามารถรวมใส่ไว้ใน thumbdrive เพียงอันเดียวได้ ผมติดใจที่เขาพูด ผมคิดเอาว่าแม้เมืองไทยจะประชากรมากกว่าราว ๑๘ เท่า แต่จำนวนคนที่มีความรู้และความสามารถสูงก็อาจจะมีไม่มากกว่าเขาก็ได้ และถ้าไปดูเรื่องระดับของคุณธรรมด้วยแล้ว ก็อาจจะยิ่งน้อยกว่าเขาก็ได้ ทั้งๆที่เป็นเมืองพุทธ นี่เป็นความรู้ส้กนะ
Tuesday, December 06, 2005
Good and Bad points on the new high-resolution screen 15" Apple Mac PowerBook
I have been using my new Apple Macintosh 15" PowerBook for about 2 weeks. Before I praise all of it, perhaps I should mention 2 of its shortcomings right here. First, the battery that came with it has been dead since the beginning , and now I am waiting a replacement from Singapore. This is a features that Apple touted about, it should be able to hold electrical charge for 5:30 hr of usage. Too bad, mine was probably among the first lot of this laptop model arriving in Thailand. Second, my keyboard did not contain Thai letters stenciled onto it. I could not blame other people, since I told Apple 's agent in Bangkok that I badly need to use it now that I had deadline of jobs coming so that 's why they sent one machine to me as soon as they got them out from the customs at the Bangkok International Airport. And that's why there is no Thai letters labeled on the keyboard. Now I do not want to send back to the Apple agent to have the keyboard stenciled, mainly bacause I don't want to be without the machine even for a day.
Apart from these two flaws, all others are great. To be continued on part 2 in a few days until I have cleared out my backlogged jobs first.
Merit making at Wat Phrabatnamphu
Few days ago, I and my family went to Lop Buri to make merit. Wat Phrabatnamphu is a famous temple when the former abbot received Magsaysay award a few years ago.
The temple is about 7 km east of the town and situated on the foot of a small limestone mountain, amid the vast field of blossomed sunflowers. It has been my intention for a few months to go to this famous temple which shelters a large number of terminally ill AIDS patients deserted by their relatives. Apart from donating Sangkha Dhana, we also donated some cash to buy foods and medicine, and coffins for the patients. We also visited the museum there which houses a number of bodies as a reminder of the norm of life: everyone must die some day.
Got a Birthday card from Siam Commercial Bank: Thanks
Last week, I got a birthday card from SCB in the mail. Inside the card, there is a pop-up purple flower and a message with a printed signature of the famous lady Bank MD. I have been a costomer of this bank for perhaps 25 yr and this is perhaps the first time I receive this card. Thanks a lot. I think SCB is the best in term of customer service in Thailand. This card is a good evidence.
Subscribe to:
Posts (Atom)